อุปกรณ์สำหรับงานนิวเมติกส์ประเภท งานสุญญากาศ (Vacuum Equipment) แบ่งเป็น
-
- เครื่อง/ตัวกำเนิดสุญญากาศ (Vacuum Ejector, Vacuum Generator) ตัวกำเนิดความดันสุญญากาศ
Vacuum Ejector อาศัยหลักการที่ทำให้เกิดสุญญากาศตรงบริเวณคอคอดที่เป็นเสมือนท่อ 3 แยก Venturi ที่อยู่ภายในตัวกำเนิดความดันสุญญากาศตัว Ejector โดยบริเวณนี้เหมือนทาง 3 แพร่งในรูปข้างล่างลมเข้ามาทางรูที่ 1 และ เมื่อลมไหลเข้ามาเร็วในคอขาด ของตัวกำเนิดความดันสุญญากาศเช่น พื้นที่หน้าตัดที่ลมไหลผ่านลดลง 900% ความเร็วลมจะมากขึ้น 900% เช่นกัน พื้นที่ลดลง 9 เท่า ความเร็วลมที่เพิ่มขึ้น 9 เท่า ทำให้ลมที่ไหลผ่านที่ Venturi จะปั่นป่วนอย่างมาก (Turbulence) โดยลมจะไหลออกอย่างรวดเร็วไปสู่รูออกที่ 2 ซึ่งมีขนาดใหญ่ที่อยู่ตรงข้ามกับทางเข้าที่1 บริเวณทาง 3 แพร่ง ที่อยู่ภายใน Venturi ก็จะเกิดสุญญากาศ ดูดอากาศจากทางเข้าที่ 3 ท่อทางเข้าที่ 3 จะไปต่อกับลูกยางดูดจับชิ้นงาน ฯลฯ ในงานจับและวาง
- เครื่อง/ตัวกำเนิดสุญญากาศ (Vacuum Ejector, Vacuum Generator) ตัวกำเนิดความดันสุญญากาศ
เครื่องกำเนิดความดันสุญญากาศที่ต้องการปริมาณลมดูดมากๆไม่เหมาะที่จะใช้ Jector ต้องใช้เป็นปั๊มสุญญากาศ ซึ่งมีทั้งแบบกระบอกสูบ แบบโรตารี่ แบบ Vane Type เป็นต้น
ตัว/เครื่องกำเนิดแรงดันสุญญากาศ (Vacuum Ejectors)
ดังได้อธิบายถึงหลักการการทำงานของเครื่องกำเนิดแรงดันสุญญากาศมาแล้วอย่างละเอียด เพื่อให้ท่านเข้าใจและเลือกใช้ตัวกำเนิดแรงดันสุญญากาศดังต่อไปนี้
1.1 เครื่องกำเนิด แรงดันสุญญากาศ รุ่น ZK2 (Vacuum Unit)
Series | Features |
---|---|
ZK2 |
|
- 1.2 เครื่องกำเนิดสุญญากาศ รุ่น ZQ (Space Saving Vacuum Ejector/pump System)
Series | Features |
---|---|
ZQ |
|
- 1.3 เครื่องกำเนิดสูญญากาศขนาดใหญ่ รุ่น ZR (Large Size Vacuum Module)
Series | Features |
---|---|
ZR |
|
1.4 เครื่องกำเนิดสูญญากาศขนาดคอมแพ็ค รุ่น ZA (Compact Vacuum Ejector)
Series | Features |
---|---|
ZA |
|
- 1.5 เครื่องกำเนิดสูญญากาศ รุ่น ZX (Vacuum Module)
Series | Features |
---|---|
ZX |
|
- 1.6 เครื่องกำเนิดสุญญากาศ รุ่น ZM (Vacuum Ejector)
-
- 1.9 Vacuum Ejector รุ่น ZH
Series | Features |
---|---|
ZM |
|
- 1.7 เครื่องกำเนิดสุญญากาศ รุ่น ZMA (Vacuum Ejector with Solid State Timer)
Series | Features |
---|---|
ZMA |
|
- 1.8 Multistage Ejector รุ่น ZL
Series | Features |
---|---|
ZL |
|
- 1.9 Vacuum Ejector รุ่น ZH
Series | Features |
---|---|
ZH |
|
- 2.0 เครื่องกำเนิดสุญญากาศ รุ่น ZU แบบต่อเข้ากับท่อโลหะตรง (ตัดต่อท่อใส่ Vacuum Ejector Inline Type)
Series | Features |
---|---|
ZU |
|
2.วาล์วสำหรับต่อกับ Ejector (Ejector Valve Unit) มีไว้ช่วยประหยัดลม จึงทำให้การทำงานของระบบลมอัดได้เป็นอย่างมาก
3.ตัวกรองลมความดันสุญญากาศ (Air Suction Filter) รุ่น ZFA, ZFB, ZFC กรองลมที่ถูกดูดเข้าไม่ให้เกิดความสกปรก ทำให้เครื่องกำเนิดสุญญากาศติดขัด
4. ตัว/ลูกยางดูดจับชิ้นงาน (Suction Cup/Vacuum pad) รุ่น ZP3
ลูก/ตัวยางดูดจับชิ้นงาน (Vacuum pad/Suction Cup) ทำมาจากยางซิลิโคน (Silicone) ยางสังเคราะห์ (Nitride Rubber) โพลิยูรีเทน (Polyurethane) ยางไวตัน Viton (Fluor-Caoutchouc) สามารถยกของได้หนักเป็นต้น
5. ตัว/ลูกยางดูดจับชิ้นงาน ขนาดเล็ก สั้น (Compete/Short Nozzle Pad) รุ่น ZP2
6.ลูกยางดูดจับชิ้นงานอย่างเบา เหมาะสำหรับดูดจับแผ่นไวนิล (Thin Flat/Flat Pad) รุ่น ZP2
7.ลูกยางหยิบจับชิ้นงานคล้ายลูกสูบ (Bellows Pad) รุ่น ZP2
8.ลูกยางหยิบจับชิ้นงานรูปวงรี (Oval Pad) รุ่น ZP2
9.หัวและลูกยางหยิบจับชิ้นงานสำหรับรับการกระแทก (Ball Spline Buller Pad) รุ่น ZP2
10.ลูกยางหยิบจับชิ้นงานแบบไร้รอยจับ/ลูกยางฟองน้ำจับชิ้นงาน (Mark-free pad/ Springpad) รุ่น ZP2
11.ลูกยางดูดจับชิ้นงานแบบทำงานหนัก (Heavy Quty Pad) รุ่น ZP2
12.วาล์วประหยัดลมสูญญากาศ (Vacuum Saving Valve) สามารถลดแรงดูดสุญญากาศลงเมื่อมีลมเข้าหัวดูดมาก (ไม่มีชิ้นงาน)
13. หัวและลูกยางดูดจับชิ้นงาน (Vacuum Pad) รุ่น ZP
14.หัวและลูกยางดูดจับชิ้นงานแบบ Ball Joint (Vacuum pad/Ball Joint Type) รุ่น (ZPT/ZPR)
อุปกรณ์เกี่ยวกับงานสุญญากาศอื่นๆ (Other Vacuum Equipment)
- แผ่นป้องกันชิ้นงานเสียรูปร่างเสียหาย (Adsorption Plate) รุ่น SP
เอาไปวางบนชิ้นงานที่ถูกจัดเก็บ จัดเตรียมไว้ จะไม่เกิดความเสียหายของชิ้นงาน เนื่องจากการดูดซึมก๊าซ (Adsorption) โดยตัวชิ้นงานเองที่ผิวนอกของมันกับโมเลกุลของอากาศที่อยู่ติดกับผิวชิ้นงาน ตัวชิ้นงานมักจะเป็นตัวดูดอากาศ (Adsorbent) ทำให้ Oxygen ถูกดูดซึมเข้าไปทำให้ผิวนอกของชิ้นงานเสียหายเมื่อทิ้งไว้นานๆ - กระบอกลมสำหรับงานสุญญากาศ (Free Mount cylinder for vacuum รุ่น zcuk)
- ตัวแยกน้ำกับฝุ่นในงานสุญญากาศ (Drain Separator for Vacuum รุ่น AMJ )
- ตัวกรองอากาศจากระบบสุญญากาศ (Exharest Cleaner for Vacuum ) AMV
- ตัวช่วยประหยัดลมอัดที่นำมามาใช้สร้างสุญญากาศได้ถึง 4 เท่า เช่นงานดูดน้ำค้างท่อแล้วเป่าทิ้ง งานดูดควันตอนบัดกรี งานดูดวัตถุที่เป็นก้อนเล็กๆผงจากอีกที่ไปอีกที่โดยใช้สุญญากาศ
- ตัวปรับแรงดัน/ความดันสุญญากาศ รุ่น IRV สามารถควบคุมแรงดูดได้สม่ำเสมอ ควบคุมความดันสุญญากาศได้คงที่ (Vacuum Regulator)
- ตัวปรับความดันสุญญากาศ แบบอีเล็คโทรนิคส์ (Electronic Vacuum Regulator) รุ่น ITV สามารถควบคุมความดันสุญญากาศ (Vacuum Pressure) ได้อย่างคงที่ตลอดเวลา ควบคุมแบบ Proportional สามารถสื่อสารด้วยระบบ CC Line, Device Net, ProfiBus, RS232
- วาล์วควบคุมทิศทาง/สวิทช์ความดัน/เกจวัดความดัน/อุปกรณ์ควบคุมปริมาณอากาศไหล แบบสุญญากาศ